กลุ่มตัวชี้วัด  

ฝ่ายงาน  

ระดับข้อมูล  



ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ
แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ)
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
001 อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน 903 คน 0 คน 0.00 ต่อแสน
001_01 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพ 509 คน 260 คน 51.08 %
002 ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย 8,149 คน 3,834 คน 47.05 %
003_01 ตัวชี้วัด Proxy : ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่มีพัฒนาการล่าช้าเข้าถึงบริการพัฒนาการและสุขภาพจิตที่ได้มาตรฐาน 8 คน 3 คน 37.50 %
004 จำนวนการคลอดบุตรมีชีวิตของผู้หญิงอายุ 15-19 ปี ต่อจำนวนประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน 8,467 คน 84 คน 9.92 ต่อพัน
005 ร้อยละของผู้สูงอายุไม่มีภาวะพึ่งพิง 34,075 คน 32,875 คน 96.48 %
006_01 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง พบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อม และได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ 34 คน 34 คน 100.00 %
006_02 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง พบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้ม และได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ 49 คน 49 คน 100.00 %
007 ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีคลินิกผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์คุณภาพบริการ 8 แห่ง 7 แห่ง 87.50 %
008 อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน 0 คน 0 คน 0.00 %
แผนงานที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
009 ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ 8 แห่ง 8 แห่ง 100.00 %
แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
010 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน และการจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Emergency Care System and Public Health Emergency Management) 9 คะแนน 7 คะแนน 0.00
011_01 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน 617 คน 382 คน 61.91 %
011_02 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง 2,745 คน 0 คน 0.00 %
011_03 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้ดี 20,250 คน 7,359 คน 36.34 %
012 ร้อยละของจังหวัดที่มีการขับเคลื่อนกลไกเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ภายใต้ พ.ร.บ.ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
013 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการส่งเสริมและได้รับการอนุญาต 6 ตัวอย่าง 6 ตัวอย่าง 100.00 %
014 ร้อยละของสถานที่จำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามกฎหมายกำหนด 213 แห่ง 87 แห่ง 40.85 %
แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
015 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital Challenge (ระดับมาตรฐานขึ้นไป) 8 แห่ง 8 แห่ง 100.00 %
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านบริการเป็นเลิศ
แผนงานที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster)
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
016_01 จำนวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 30 หน่วย 30 หน่วย 100.00 หน่วย
016_02 สัดส่วนของประชาชนที่รับผิดชอบเข้ารับบริการที่คลินิกหมอครอบครัวต่อ สัดส่วนของประชาชน ที่รับผิดชอบเข้ารับบริการที่โรงพยาบาล 603,022 ครั้ง 338,672 ครั้ง 56.16 %
017 ร้อยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชน 0 คน 0 คน 0.00 %
แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
018_01 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke: I60-I69) 741 คน 60 คน 8.10 %
018_02 ร้อยละการรักษาใน Stroke Unit: ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ที่มีอาการไม่เกิน 72 ชั่วโมง ได้รับการรักษาใน Stroke Unit 175 คน 148 คน 84.57 %
019 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ 54 คน 0 คน 0.00 %
020 อัตราความครอบคลุมการขึ้นทะเบียนของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 505 คน 111 คน 21.98 %
021_01 ร้อยละของจังหวัดที่ผ่านตามเกณฑ์พัฒนาสู่จังหวัดใช้ยาสมเหตุผล (RDU province) ที่กำหนด 8 แห่ง 8 แห่ง 100.00 %
021_02 จำนวนตัวชี้วัดที่ผ่านเกณฑ์การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในโรงพยาบาล (RDU Hospital) 8 แห่ง 8 แห่ง 100.00 %
022 อุบัติการณ์ผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด ปี 2565 44.37 % ปี 2567 45.45 % 1.08 %
023 อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน 896 คน 4 คน 4.46 ต่อพัน
024 ร้อยละการให้การดูแลตามแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning) ในผู้ป่วยประคับประคองอย่างมีคุณภาพ 541 คน 378 คน 69.87 %
025 ร้อยละของจำนวนผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต ระยะกลาง (Intermediate Care) ที่ได้รับการดูแลด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (Community base) 2,112 คน 430 คน 20.36 %
026 ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการในระดับปฐมภูมิได้รับการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 667,940 คน 158,111 คน 23.67 %
027 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามีอาการทุเลาในการติดตาม 6 เดือน 0 คน 0 คน 0 %
028_01 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 323,860 คน 7 คน 2.16 ต่อแสน
028_02 ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทําร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี 24 คน 23 คน 95.83 %
028_03 ร้อยละของผู้ป่วยโรคจิตเภทได้รับการรักษาต่อเนื่องภายใน 6 เดือน 875 คน 847 คน 96.80 %
029 อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired 470 คน 103 คน 21.91 %
030_01 อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI 59 คน 4 คน 6.78 %
030_02_01 ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด 0 คน 0 คน 0.00 %
030_02_02 ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับการทำ Primary PCI ได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด 16 คน 12 คน 75.00 %
031_01 ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 53,856 คน 20,733 คน 38.50 %
031_02 ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งปากมดลูก) ได้รับการส่องกล้อง Colposcopy 33 คน 33 คน 100.00 %
031_03 ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง 78,199 คน 4,974 คน 6.36 %
031_04 ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ผิดปกติ) ได้รับการส่องกล้อง Colonoscopy 107 คน 0 คน 0.00 %
032_01 จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ที่เข้าสู่ไตวายเรื้อรังระยะที่ 5 น้อยกว่าร้อยละ 10 ของปีงบประมาณก่อน ปี 2566 0 % ปี 2567 0 % 0.00 %
032_02 ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีค่าง eGFR ลดลง น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ml/min/1.73m2/yr 4,065 คน 2,770 คน 68.14 %
033 อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตายที่ได้รับการผ่าตัดนำอวัยวะออก ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (โรงพยาบาล A, S, M1) ปี 2566 947 คน ปี 2567 100 คน 10.56 %
034 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพอย่างต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) 403 คน 312 คน 77.42 %
035_01 ร้อยละของ ผู้ป่วย Intermediate care ได้รับการบริบาลฟื้นสภาพและติดตามจนครบ 6 เดือน หรือจน Barthel index = 20 ก่อนครบ 6 เดือน 90 คน 90 คน 100.00 %
035_02 ร้อยละของผู้ป่วย Intermediate Care(ผู้ป่วยใน) มีค่าคะแนนBarthel index เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 2 คะแนน เมื่อได้รับการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลางในหอผู้ป่วย IMC ward/bed 67 คน 29 คน 43.26 %
035_03 ร้อยละของผู้ป่วย Intermediate Care(ผู้ป่วยนอก) ได้รับการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลาง จำนวนมากกว่าหรือเท่ากับ 6 ครั้ง ภายในระยะเวลา 6 เดือน 0 คน 0 คน 0.00 %
036_01 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Palliative care) ที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ 594 คน 51 คน 8.59 %
036_02 ร้อยละของผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ ปี 2564 781 คน ปี 2567 1,452 คน 85.92 %
แผนงานที่ 7 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
037 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (Triage level 1) ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit) 0 คน 0 คน 0.00 %
038 ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 363 ครั้ง 106 ครั้ง 29.20 %
039 อัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง (traumatic brain injury mortality) 152 คน 6 คน 3.95 %
แผนงานที่ 8 การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และพื้นที่เฉพาะ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
040 ร้อยละผู้ป่วยในพระบรมราชานุเคราะห์ และพระราชานุเคราะห์ ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ 0 คน 0 คน 0.00 %
แผนงานที่ 9 อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
041 อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานตามที่กำหนด 4 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
042 ร้อยละของศูนย์เวลเนส (Wellness Center)/แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับการยกระดับแบบมีส่วนร่วม และสร้างสรรค์ด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรให้มีคุณค่าและมูลค่าสูงเพิ่มขึ้น 1 แห่ง 2 แห่ง 2.00 แห่ง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านบุคลากรเป็นเลิศ
แผนงานที่ 10 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
043 ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ 0 ตำแหน่ง 0 ตำแหน่ง 0.00 %
044 หน่วยงานที่เป็นองค์กรสมรรถนะสูง กระทรวงสาธารณสุข(MoPH-4T) 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล
แผนงานที่ 11 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
045 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA 17 แห่ง 17 แห่ง 100.00 %
046 ร้อยละของส่วนราชการและหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การตรวจสอบและประเมินผลระบบการควบคุมภายใน 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
047 ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนด 9 แห่ง 9 แห่ง 100.00 %
048_01 ร้อยละของโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 1 แห่ง 1 แห่ง 100.00 %
048_03 ร้อยละของโรงพยาบาลชุมชนมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 7 แห่ง 7 แห่ง 100.00 %
049_01_01 ร้อยละสถานบริการ ระดับ รพศ./รพท. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน (The must) 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
049_01_02 ร้อยละสถานบริการ ระดับ รพช. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน (The must) 7 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
049_02_01 ร้อยละสถานบริการ ระดับ รพศ./รพท. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินฯ ขั้นสูง (The best) 1 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
049_02_02 ร้อยละสถานบริการ ระดับ รพช. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินฯ ขั้นสูง (The best) 7 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
แผนงานที่ 12 การพัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศด้านสุขภาพ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
050 จังหวัดที่มีบริการการแพทย์ทางไกลตามเกณฑ์ที่กำหนด 5,700 ครั้ง 5,541 ครั้ง 97.21 %
051 ร้อยละของโรงพยาบาลที่ยื่นขอรับรอง HAIT 8 แห่ง 1 แห่ง 12.50 %
แผนงานที่ 13 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
052 ความแตกต่างการใช้สิทธิ เมื่อไปใช้บริการผู้ป่วยในของผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (compliance rate) 0.00 % 0.00 % 0.00 %
053_01 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
053_02 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 6 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
แผนงานที่ 14 การพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรมด้านสุขภาพ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
054 จำนวนนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่หรือที่พัฒนาต่อยอด 17 เรื่อง 0 เรื่อง 0 เรื่อง
copy right © 2015 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี
ตั้งอยู่เลขที่ 160 หมู่ 3 ถ.อุทัย-หนองฉาง ต.น้ำซึม อ.เมือง จ.อุทัยธานี 61000
โทรศัพท์ 0-5651-1565 0-5657-1007 0-5651-2127 โทรสาร 0-5651-1327