กลุ่มตัวชี้วัด  

ฝ่ายงาน  

ระดับข้อมูล  



ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ
แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ)
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
001 อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน 0 คน 0 คน 0.00 ต่อแสน
002 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพ 955 คน 343 คน 35.92 %
003 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ 0 คน 0 คน 0.00 %
004 ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย 8,572 คน 7,888 คน 92.02 %
005 เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 103 0 คน 0.00 คะแนน 0 คะแนน
005_01 ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการคัดกรองแล้ว พบว่ามีพัฒนาการล่าช้า แล้วได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I หรือเครื่องมือมาตรฐานอื่น จนมีพัฒนาการสมวัย 30 คน 9 คน 30.00 %
006_01_01 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ไตรมาสที่ 1 9,812 คน 7,127 คน 72.64 %
006_01_02 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ไตรมาสที่ 2 9,952 คน 7,074 คน 71.08 %
006_01_03 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ไตรมาสที่ 3 9,413 คน 6,719 คน 71.38 %
006_01_04 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ไตรมาสที่ 4 8,974 คน 5,960 คน 66.41 %
006_02_01 เด็กชาย ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ไตรมาสที่ 1 979 คน 108,098.00 เซนติเมตร 110.42 เซนติเมตร
006_02_02 เด็กชาย ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ไตรมาสที่ 2 1,026 คน 113,028.00 เซนติเมตร 110.16 เซนติเมตร
006_02_03 เด็กชาย ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ไตรมาสที่ 3 988 คน 109,747.00 เซนติเมตร 111.08 เซนติเมตร
006_02_04 เด็กชาย ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ไตรมาสที่ 4 958 คน 105,347.00 เซนติเมตร 109.97 เซนติเมตร
006_03_01 เด็กหญิง ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ไตรมาสที่ 1 989 คน 107,939.00 เซนติเมตร 109.14 เซนติเมตร
006_03_02 เด็กหญิง ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ไตรมาสที่ 2 1,025 คน 112,190.00 เซนติเมตร 109.45 เซนติเมตร
006_03_03 เด็กหญิง ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ไตรมาสที่ 3 972 คน 107,453.00 เซนติเมตร 110.55 เซนติเมตร
006_03_04 เด็กหญิง ส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี ไตรมาสที่ 4 946 คน 103,130.00 เซนติเมตร 109.02 เซนติเมตร
007 จำนวนการคลอดบุตรมีชีวิตของผู้หญิงอายุ 15-19 ปี ต่อจำนวนประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน 8,260 คน 127 คน 15.38 ต่อพัน
008 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม care plan 3,284 คน 3,107 คน 94.61 %
009 ร้อยละของผู้สูงอายุมีแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) 800 คน 842 คน 105.25 %
010 ร้อยละของประชากรสูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 691 คน 578 คน 83.65 %
011 ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีคลินิกผู้สูงอายุ 8 แห่ง 8 แห่ง 100.00 %
012 อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน 0 คน 0 คน 0.00 %
013_01 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง พบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อม และได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ 289 คน 155 คน 53.63 %
013_02 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง พบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้ม และได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ 0 คน 0 คน 0.00 %
014 ร้อยละของเด็ก 6-12 ปี ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟัน 21,007 คน 7,041 คน 33.52 %
แผนงานที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
015 ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ 8 แห่ง 8 แห่ง 100.00 %
แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
016 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน และการจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Emergency Care System and Public Health Emergency Management) 1 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
017_01 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน 545 คน 464 คน 85.14 %
017_02 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง 2,056 คน 1,717 คน 83.51 %
018 ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้ดี 20,164 คน 8,568 คน 42.49 %
019 ร้อยละของอำเภอที่ผ่านการประเมินระบบเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2562 8 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
020 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการส่งเสริมและได้รับการอนุญาต 0 ตัวอย่าง 0 ตัวอย่าง 0.00 %
021 ร้อยละของสถานที่จำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามกฎหมายกำหนด 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
022 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital Challenge (ระดับมาตรฐานขึ้นไป) 8 แห่ง 8 แห่ง 100.00 %
ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเป็นเลิศ
แผนงานที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ (Primary Care Cluster)
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
023 จำนวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2564 30 หน่วย 30 หน่วย 100.00 หน่วย
024 จำนวนประชาชนคนไทย มีหมอประจำตัว 3 คน 0 คน 0 คน 0 คน
025 สัดส่วนของประชาชนที่รับผิดชอบเข้ารับบริการที่คลินิกหมอครอบครัวต่อ สัดส่วนของประชาชน ที่รับผิดชอบเข้ารับบริการที่โรงพยาบาล 1,661,920 ครั้ง 962,011 ครั้ง 57.89 %
026 ร้อยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชน 642 คน 337 คน 52.49 %
แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
027_01 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke: I60-I69) 1,264 คน 110 คน 8.70 %
027_02 ร้อยละการรักษาใน Stroke Unit: ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ที่มีอาการไม่เกิน 72 ชั่วโมง ได้รับการรักษาใน Stroke Unit 0 คน 0 คน 0.00 %
028 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (Success rate) 58 คน 51 คน 87.93 %
028_01 อัตราความครอบคลุมการขึ้นทะเบียนของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (TB Treatment) 489 คน 128 คน 26.18 %
028_02 ความครอบคลุมการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคโดยวิธีถ่ายภาพรังสีทรวงอก (CXR) 30,448 คน 21,094 คน 69.28 %
029 ร้อยละอำเภอที่ขับเคลื่อนการพัฒนาสู่จังหวัดใช้ยาสมเหตุผล (RDU province) ตามเกณฑ์ที่กำหนด 8 แห่ง 8 แห่ง 100.00 %
030 อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด ปี 2564 0.00 % ปี 2566 0.00 % 0.00 %
031 อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน 1,682 คน 9 คน 5.35 ต่อพัน
032 ร้อยละการให้การดูแลตามแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning) ในผู้ป่วยประคับประคองอย่างมีคุณภาพ 679 คน 144 คน 21.21 %
033 ร้อยละของจำนวนผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาต ระยะกลาง (Intermediate Care) ที่ได้รับการดูแลด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (Community base) 2,707 คน 269 คน 9.94 %
034 ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการในระดับปฐมภูมิได้รับการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 1,124,990 คน 272,215 คน 24.20 %
035 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต 6,313 คน 8,479 คน 134.31 %
036_01 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 325,116 คน 12 คน 3.69 ต่อแสน
036_02 ร้อยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาทําร้ายตัวเองซ้ำในระยะเวลา 1 ปี 33 คน 33 คน 100.00 %
037 อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community acquired 736 คน 222 คน 30.16 %
038 Refracture Rate 0 คน 0 คน 0.00 %
039_01 อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI 113 คน 6 คน 5.31 %
039_02_01 ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด 91 คน 22 คน 24.18 %
039_02_02 ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับการทำ Primary PCI ได้ตามมาตรฐานเวลาที่กำหนด 0 คน 0 คน 0.00 %
040_01 ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 54,262 คน 20,994 คน 38.69 %
040_02 ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งปากมดลูก) ได้รับการส่องกล้อง Colposcopy 0 คน 0 คน 0.00 %
040_03 ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง 77,568 คน 8,902 คน 11.48 %
040_04 ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติ (มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ผิดปกติ) ได้รับการส่องกล้อง Colonoscopy 0 คน 0 คน 0.00 %
041 ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีค่าง eGFR ลดลง น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ml/min/1.73m2/yr 4,365 คน 2,774 คน 63.55 %
042 ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน 0 คน 0 คน 0.00 %
043 อัตราส่วนของจำนวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตายที่ได้รับการผ่าตัดนำอวัยวะออก ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (โรงพยาบาล A, S) 0 คน 0 คน 0.00 %
044 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพอย่างต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) 0 คน 0 คน 0.00 %
046 ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด One Day Surgery 0 คน 0 คน 0.00 %
047 ร้อยละของการ Re-admit ภายใน 1 เดือน จากการผ่าตัดโรคนิ่วในถุงน้ำดีและหรือถุงน้ำดีอักเสบ ผ่านการผ่าตัดแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery : MIS) 0 คน 0 คน 0.00 %
048_01 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Palliative care) ที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ 0 คน 0 คน 0.00 %
048_02 ร้อยละของผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ 0 คน 0 คน 0.00 %
แผนงานที่ 7 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
049 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (Triage level 1) ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit) 164 คน 52 คน 31.71 %
050 ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 0 ครั้ง 0 ครั้ง 0.00 %
051 อัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง (traumatic brain injury mortality) 0 คน 0 คน 0.00 %
แผนงานที่ 8 การพัฒนาตามโครงการพระราชดำริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และพื้นที่เฉพาะ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
052 ร้อยละผู้ป่วยในพระบรมราชานุเคราะห์ และพระราชานุเคราะห์ ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ 0 คน 0 คน 0.00 %
แผนงานที่ 9 อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
053 อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานตามที่กำหนด 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
054 ร้อยละของศูนย์เวลเนส (Wellness Center)/แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับการยกระดับแบบมีส่วนร่วม และสร้างสรรค์ด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรให้มีคุณค่าและมูลค่าสูงเพิ่มขึ้น 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
ยุทธศาสตร์ที่ 3 บุคลากรเป็นเลิศ
แผนงานที่ 10 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
055 ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ 0 ตำแหน่ง 0 ตำแหน่ง 0.00 %
ยุทธศาสตร์ที่ 4 บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล
แผนงานที่ 11 การพัฒนาระบบธรรมาภิบาลและองค์กรคุณภาพ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
057 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
058 ร้อยละของส่วนราชการและหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การตรวจสอบและประเมินผลระบบการควบคุมภายใน 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
059_02 ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนด (สำนักงานสาธารณสุข) 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
060_01 ร้อยละของโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 1 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
060_03 ร้อยละของโรงพยาบาลชุมชนมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 0 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
061_01_01 ร้อยละสถานบริการ ระดับ รพศ./รพท. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน (The must) 1 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
061_01_02 ร้อยละสถานบริการ ระดับ รพช. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินฯ ขั้นพื้นฐาน (The must) 7 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
062 ร้อยละของสถานบริการที่มีการดำเนินงานสื่อสารเชิงรุก 101 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
063 ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการปรับโฉม Smart Hospital (Smart ER/Modernize OPD/มีการใช้พลังงานสะอาด) 8 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
แผนงานที่ 12 การพัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศด้านสุขภาพ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
064_01 ร้อยละของบุคลากรสาธารณสุข มี ดิจิทัลไอดี 2,232 คน 2,160 คน 96.77 %
064_02 ร้อยละของประชาชน มี ดิจิทัลไอดี 332,298 คน 118,873 คน 35.77 %
065 จังหวัดที่มีบริการการแพทย์ทางไกลตามเกณฑ์ที่กำหนด 4,100 ครั้ง 4,901 ครั้ง 119.54 %
แผนงานที่ 13 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
066 ความแตกต่างอัตราการใช้สิทธิ(compliance rate) เมื่อไปใช้บริการผู้ป่วยใน (IP) ของผู้มีสิทธิใน 3 ระบบ 0.00 % 0.00 % 0.00 %
067 ระดับความสำเร็จของการปรับปรุงสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ 0 เรื่อง 0 เรื่อง 0 เรื่อง
068_01 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 7 8 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
068_02 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ระดับ 6 8 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
แผนงานที่ 14 การพัฒนางานวิจัย และนวัตกรรมด้านสุขภาพ
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
069 จำนวนนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่หรือที่พัฒนาต่อยอด 0 เรื่อง 0 เรื่อง 0 เรื่อง
ตัวชี้วัดอื่น MOU
KPI No ตัวชี้วัด MOU Monitor Ranking รายละเอียด เป้าหมาย ผลงาน ผลลัพธ์  
070 ร้อยละของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขับเคลื่อนการพัฒนาสู่ตำบลใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (RDU Tambon) 8 แห่ง 0 แห่ง 0.00 %
071 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการเพิ่มมูลค่าการใช้ยาสมุนไพร ปี 2565 0 บาท ปี 2566 0 บาท 0.00 %
copy right © 2015 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี
ตั้งอยู่เลขที่ 160 หมู่ 3 ถ.อุทัย-หนองฉาง ต.น้ำซึม อ.เมือง จ.อุทัยธานี 61000
โทรศัพท์ 0-5651-1565 0-5657-1007 0-5651-2127 โทรสาร 0-5651-1327